มลพิษทางอากาศในอาเซียน
เป็นที่ทราบกันดีแล้วว่าปัจจุบันมนุษย์กำลังได้รับอันตรายจากมลพิษทางอากาศมากขึ้นโดยลำดับ กล่าวคือมลพิษทางอากาศเป็นภัยอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมและมนุษย์ซึ่งก่อให้เกิดอันตรายเช่น เป็นอันตรายต่อสุขภาพของมนุษย์
ผู้เข้าชมรวม
587
ผู้เข้าชมเดือนนี้
1
ผู้เข้าชมรวม
บทความทางวิชาการ
เรื่อง มลพิษทางอากาศในอาเซียน (The study of Air pollution in Asean)
มลพิษทางอากาศ หมายถึง ฝุ่นละอองหรือสิ่งเจือปนอยู่ในอากาศ
ก๊าซบางชนิด ฝุ่นละออง กลิ่น ควัน เขม่า และกัมมันตภาพรังสี เช่น
ออกไซด์ของคาร์บอนออกไซด์ของกำมะถัน ออกไซด์ของไนโตรเจน ไฮโดรคาร์บอน สารปรอท
ตะกั่ว ละอองกัมมันตภาพรังสี
เป็นปริมาณมากจนถึงระดับที่จะเป็นอันตรายต่อมนุษย์และทรัพย์สิน
ตลอดจนสัตว์และพืชทั่วไป สาเหตุการเกิดมลพิษทางอากาศ เกิดจาก
สารที่ออกจากรถยนต์ที่สําคัญได้แก่ คาร์บอนมอนอกไซด์ ไฮโดรคาร์บอน
ออกไซด์ของไนโตรเจน และของกํามะถันแหล่งกําเนิดฝุ่นละอองต่าง ๆ ได้แก่
บริเวณที่กําลังก่อสร้าง โรงงานทําปูนซีเมนต์ โรงงาน การเผาไหม้เชื้อเพลิง
การเผาป่าเผาไร่ทำนาและกระบวนการผลิต ซึ่งเป็นตัวการสำคัญที่ก่อให้เกิดผล
กระทบต่อคุณภาพอากาศในบรรยากาศและอาจส่งผล กระทบต่อสุขภาพประเทศที่ปะสบปัญหามลพิษทางอากาศมากที่สุดคือประเทศจีนที่มีค่ามลพิษทางอากาศสูงถึง
21% และยังมีประเทศอื่นๆ ที่ประสบปัญหามลพิษทางอากาศ เช่น จีน อินโดนีเชีย สิงคโปร์
มาเลเซีย และประเทศไทย การวัดค่ามลพิษทางอากาศกรมควบคุมมลพิษทางอากาศ คือ ดัชนีคุณภาพอากาศ
เป็นการรายงานข้อมูลคุณภาพอากาศในรูปแบบที่ง่ายต่อความเข้าใจของประชาชนทั่วไป
เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้สาธารณชนได้รับทราบถึงสถานการณ์มลพิษทางอากาศในแต่ละพื้นที่ว่าอยู่ในระดับใด
มีผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยหรือไม่
ซึ่งดัชนีคุณภาพอากาศเป็นรูปแบบสากลที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในหลายประเทศ เช่น จีน
อินโดนีเชีย สิงคโปร์ มาเลเซีย และประเทศไทย เป็นต้น
ผลกระทบจากมลพิษทางอากาศก่อให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพ
ทำลายเศรษฐกิจ ทำลายวัสดุสิ่งของหรือสิ่งแวดล้อมต่างๆ และสิ่งมีชีวิต เช่น พืช คน
และ สัตว์ อื่นๆ ต้องเร่งรัดการลดมลพิษทางอากาศ อันเนื่องมาจากยานพาหนะอุตสาหกรรมและกิจกรรมการก่อสร้างและการขนส่งและรักษาคุณภาพอากาศในพื้นที่ที่มีคุณภาพอากาศเป็นไปตามาตรฐานที่กำหนดไม่ให้เสื่อมโทรมลงไปจนเกินเกณฑ์มาตรฐานส่งเสริมและสนับสนุนการใช้ระบบขนส่งที่มีมลพิษน้อยส่งเสริมให้ภาครัฐ
ภาคเอกชนและประชาชนทั่วไป ทั้งที่เป็นผู้ก่อมลพิษและผู้ได้รับมลพิษ
ได้มีส่วนร่วมในการรักษาคุณภาพอากาศ
จากการสอบถามนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่
5/2 จำนวน 44 คน
เกี่ยวกับวิธีการป้องกันการเกิดมลพิษทางอากาศเลือกมากที่สุดคือ การลดใช้ถุงพลาสติก
คิดเป็นร้อยละ41 ลองลงมาคือ ร่วมกันปลูกป่าทดแทนที่ถูกทำลายไป
คิดเป็นร้อยละ33 และเลือกจำนวนน้อยที่สุดคือ ช่วยกันอนุรักษ์ทรัพยากร
คิดเป็นร้อยละ26 แสดงว่านักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/2
มีวิธีการป้องกันการเกิดมลพิษทางอากาศที่สามารถปฏิบัติได้ดีที่สุดและสามารถปฏิบัติได้เอง
คิดเป็นร้อยละ74 และการเลือกวิธีการป้องกันที่สามารถปฏิบัติได้น้อยที่สุดและไม่สามารถปฏิบัติได้ด้วยตัวเอง
คิดเป็นร้อยละ26 แสดงว่านักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/2 มีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันการเกิดมลพิษทางอากาศเป็นอย่างดี
จากการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ เรื่อง
มลพิษทางอากาศในอาเซียน (The
study of Air pollution in Asean)
ได้นำผลการศึกษาผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ www.facebook.com, www.//twitter.com, www.dek-d.com, www.//Instargram.com
เป็นไปตามวัตถุประสงค์ทุกประการ
จากสมมติฐานที่ตั้งไว้คือ ผลกระทบจากมลพิษทางอากาศทำให้เกิดฝนกรด
สารมลพิษทางอากาศอาจทำลายวัสดุสิ่งของหรือสิ่งแวดล้อมต่างๆ เช่น ทำให้เกิดฝนกรด
ไนโตรเจนไดออกไซด์ทำให้ลวดสปริงเสียรูปทรง ทำความเสียหายแก่เสื้อผ้า
และทำลายสีทาพื้นผิวต่างๆ ให้หลุดลอก
โดยมีข้อเสนอแนะวิธีในการแก้ไขปัญหา
ดังนี้
1. เร่งรัดการลดมลพิษทางอากาศ
อันเนื่องมาจากยานพาหนะอุตสาหกรรมและกิจกรรมการก่อสร้างและการขนส่ง
2. รักษาคุณภาพอากาศในพื้นที่ที่มีคุณภาพอากาศเป็นไปตามาตรฐานที่กำหนดไม่ให้เสื่อมโทรมลงไปจนเกินเกณฑ์มาตรฐาน
3. ส่งเสริมและสนับสนุนการใช้ระบบขนส่งที่มีมลพิษน้อย
4. จัดกิจกรรมปลูกป่าเพื่อที่จะได้มีส่วนร่วมในการรักษาคุณภาพอากาศ
5. รณรงค์ให้ประชาชนช่วยกันปลูกป่าเพิ่มมากขึ้นเพื่อใช้ในการดูดซับเอามลพิษทำให้มีความร่มเย็น
6. สร้างเสริมความรู้ให้แก่ชุมชน โรงเรียน ให้รู้ถึงอันตรายของมลพิษทางอากาศ
โดย นางสาวอาทิตยา พื้นชั้นภูมิ เลขที่ 32 ชั้น ม.5/2
นางสาวจุฑาทิพย์ คำถาเครือ เลขที่ 21 ชั้น ม. 5/2
นางสาวสุวรรณา เวียนเป๊ะ เลขที่ 40 ชั้น ม. 5/2
วันที่ 4 เดือน กุมพาพันธ์ พ.ศ. 2559
เอกสารอ้างอิง
กรรมควบคุมมลพิษทางอากาศ. (2554). มลพิษทางอากาศ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก
: http://www.pcd.go.th/info_serv/reg/polair.html วันที่สืบค้น 15/กรกฏาคม/2558.
กรรมควบคุมมลพิษทางอากาศ. (2554). การวัดค่ามลพิษทางอากาศ.
[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.pcd.go.th/info_serv/air_aqi.htm.
วันที่สืบค้น 20/มกรราคม/2559.
กองอนามัยสิ่งแวดล้อม
สำนักอนามัย กทม. (ม.ป.ป.). มลพิษทางอากาศ.
[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://web.ku.ac.th/schoolnet/snet6/envi3/monpit-a/monpit- a.htm . วันที่สืบค้น 14/กรกฏาคม/2558.
บุญลาภ
ภูสุวรรณ. (2557). มลภาวะที่จีน : ปัญหาที่ท้าทายมนุษยชาติ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://thaipublica.org/2014/10/shanghai-pollution-9/. วันที่สืบค้น
15/กรกฏาคม/2558.
ปริมนภา
จงจิตกลาง และคณะ. (ม.ป.ป.). สาเหตุและผลกระทบของมลพิษทางอากาศ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.rmuti.ac.th/user/thanyaphak/Web%20EMR/Web%20IS%20Environ men%20gr.4/Mola2.html. วันที่สืบค้น 15/กรกฏาคม/2558.
พิไท
ตาทอง. (ม.ป.ป.). ความหมายและแหล่งกำเนิดของมลพิษทางอากาศ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.yala.ac.th/links/pitai/Link/Link%205.htm. วันที่สืบค้น
15/กรกฏาคม/2558.
พิไท
ตาทอง. (ม.ป.ป.). ผลกระทบจากมลพิษทางอากาศ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.yala.ac.th/links/pitai/Link/Link5.2.htm.
วันที่สืบค้น 15/กรกฏาคม/2558.
พูนศักดิ์
สักกทัตติยกุล. (2552). แนงทางการแก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.thaigoodview.com/node/44631. วันที่สืบค้น
15/กรกฏาคม/2558.
วิกิพีเดีย
สารานุกรมเสรี. (2558). มลพิษทางอากาศ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A1%E0%B8%A5%E0%B8%9E%E0%B8% B4%E0%B8%A9%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%AD%E0%B8 %B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A8. วันที่สืบค้น 8/กรกฏาคม/2558.
วอล์คเกอร์
เอ็นจิเนียริ่ง. (ม.ป.ป.). มลพิษทางอากาศ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.nigwe.com/index.php?option=com_content&view=article&id=35:ai r-pollution&catid=10&Itemid=170. วันที่สืบค้น 14/กรกฏาคม/2558.
สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ. (ม.ป.ป.).
ผลกระทบของสารมลพิษทางอากาศ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=15&chap=9&page=t 15-9-infodetail05.html. วันที่สืบค้น 14/กรกฏาคม/2558.
สุชาดา
สำเนียล้ำ. (2556). ความหมายของมลพิษทางอากาศ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก
: http://suchada.wikispaces.com/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B 8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%82%E0% B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%A1%E0%B8%A5%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0 %B8%A9%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%8%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0 %B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A8. วันที่สืบค้น 14/กรกฏาคม/2558.
สำนักงานที่ปรึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ประจำสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงวอชิงตัน. (2557). ปัญหามลพิษทางอากาศ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://ostc.thaiembdc.org/13th/blog/archives/2042. วันที่สืบค้น
14/กรกฏาคม/2558.
สำนักงานแรงงานในประเทศมาเลเซีย.
(2556). ไฟป่าอินโดนีเชียสร้างปัญหหามลพิษทางอากาศ ให้กับชาวสิงคโปร์และชาวมาเลเชีย. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://malaysia.mol.go.th/node/524 วันที่สืบค้น 14/กรกฏาคม/2558.
อนามัยสิ่งแวดล้อม.
(ม.ป.ป.).
ผลกระทบที่เกิดจากมลพิษทางอากาศ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก
: http://www.elearning.msu.ac.th/opencourse/0709%20307/unit7_5_1.html. วันที่สืบค้น 14/กรกฏาคม/2558.
เนื้อเรื่อง
คุณแน่ใจว่าต้องการคืนค่าการตั้งค่าทั้งหมด ?
ผลงานอื่นๆ ของ iosono_fiw ดูทั้งหมด
ผลงานอื่นๆ ของ iosono_fiw
ความคิดเห็น